วันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560



รัตนสูตร (ภาษาสันสกฤต)
รัตนสูตร เป็นพระสูตรในพระสุตตันตปิฎก หมวดขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ และยังปรากฏในหมวดสุตตนิบาต เป็นพระคาถาจำนวน ๑๗ บท ในพากย์ภาษาสันสกฤตมีจำนวน ๑๙ บท ดังที่มีอยู่ในคัมภีร์มหาวัสตุอวทานของนิกายโลโกตตรวาท และนิกายมหาสังฆิกะ (อนึ่งพากย์สันสกฤต คาถาบทที่ ๔ หายไป ๒ บาท)
พระสูตรนี้พรรณนาคุณของพระรัตนตรัย และป่าวประกาศความยิ่งใหญ่ และคุณลักษณะของพระอริยะเจ้า มีพระโสดาบัน เป็นอาทิ จุดประสงค์ของการประกาศพระสูตรนี้ก็เพื่อโปรดชาวเมืองเวสาลีให้รอดพ้นจากภยันตรายทั้งหลวงทั้งปวงที่กำลังรุมเร้าเมืองแห่งนี้ และเพื่อยังให้ชาวเมืองทั้งหลายได้มีดวงตาเห็นธรรม
พร้อมกันนี้ ขอนำอรรถาธิบายพระสูตร เรื่อง "รตนสุตตเทศนา" ของสมเด็จพระวันรัต (กิตติโสภณมหาเถระ) มาประกอบการศึกษา
....คาถาพากย์สันสกฤตของรัตนสูตรสูตรมีดังนี้....
นโม 'สฺตุ พุทฺธาย นโม 'สฺตุ โพธเย
นโม วิมุกฺตาย นโม วิมุกฺตเย
นโม 'สฺตุ ชฺญานสฺย นโม 'สฺตุ ชฺญานิโน
โลกาคฺรเศฺรษฺฐาย นโม กโรถ
ยานีห ภูตานิ สมาคตานิ
ภูมฺยานิ วา ยานิ ว อนฺตรีเกฺษ
สรฺวาณิ วา อาตฺตมนานิ ภูตฺวา
ศฺฤณฺวนฺตุ สฺวสฺตฺยยนํ ชิเนน ภาษิตํ
อิมสฺมิํ วา โลเก ปรสฺมิํ วา ปุนะ
สฺวรฺเคษุ วา ยํ รตนํ ปฺรณีตํ
น ตํ สมํ อสฺติ ตถาคเตน
เทวาติเทเวน นโรตฺตเมน
อิมํ ปิ พุทฺเธ รตนํ ปฺรณีตํ
เอเตน สตฺเยน สุสฺวสฺติ โภตุ
มนุษฺยโต วา อมนุษฺยโต วา
⏓−⏑−¦−⏑⏑¦−⏑−⏓
⏓−⏑−¦−⏑⏑¦−⏑−⏓
อิทํ ปิ ธรฺเม รตนํ ปฺรณีตํ
เอเตน สตฺเยน สุสฺวสฺติ โภตุ
มนุษฺยโต วา อมนุษฺยโต วา
ยํ พุทฺธเศฺรษฺโฐ ปริวรฺณเย ศุจิํ
ยมาหุ อานนฺตริยํ สมาธิํ
สมาธิโน ตสฺย สโม น วิทฺยเต
อิทํ ปิ ธรฺเม รตนํ ปฺรณีตํ
เอเตน สตฺเยน สุสฺวสฺติ โภตุ
มนุษฺยโต วา อมนุษฺยโต วา
เย ปุทฺคลา อษฺฏ สทา ปฺรศสฺตา
จตฺวาริ เอตานิ ยุคานิ โภนฺติ
เต ทกฺษิณียา สุคเตน อุกฺตาะ
เอตานิ ทินฺนานิ มหตฺผลานิ
อิทํ ปิ สํเฆ รตนํ ปฺรณีตํ
เอเตน สตฺเยน สุสฺวสฺติ โภตุ
มนุษฺยโต วา อมนุษฺยโต วา
สรฺไวว ยสฺย ทรฺศนสํปทาโย
ตฺรโย 'สฺย ธรฺมา ชหิตา ภวนฺติ
สตฺกายทฤษฺฏี วิจิกิตฺสิตํ จ
ศีลวฺรตํ จาปิ ยทสฺติ กิํจิตฺ
อิทํ ปิ สํเฆ รตนํ ปฺรณีตํ
เอเตน สตฺเยน สุสฺวสฺติ โภตุ
มนุษฺยโต วา อมนุษฺยโต วา
กิํจาปิ ไศโกฺษ ปฺรกโรติ ปาปํ
กาเยน วาจา อถ เจตสาปิ
อภวฺโย โส ตสฺย นิคูหนาย
อภวฺยตา ทฤษฺฏปเถษุ อุกฺตา
อิทํ ปิ สํเฆ รตนํ ปฺรณีตํ
เอเตน สตฺเยน สุสฺวสฺติ โภตุ
มนุษฺยโต วา อมนุษฺยโต วา
ยเถนฺทฺรกีโล ปฺฤถิวีสนฺนิศฺริโต สฺยา
จตุรฺภิ วาเตหิ อสํปฺรกมฺปิ
ตโถปมํ สตฺปุรุษํ วเทมิ
โย อารฺยสตฺยานิ สุเทศิตานิ
คมฺภีร-อรฺถานิ อเวตฺย ปศฺยติ
อิทํ ปิ สํเฆ รตนํ ปฺรณีตํ
เอเตน สตฺเยน สุสฺวสฺติ โภตุ
มนุษฺยโต วา อมนุษฺยโต วา
เย อารฺยสตฺยานิ วิภาวยนฺติ
คมฺภีรปฺรชฺเญน สุเทศิตานิ
กิํ จาปิ เต โภนฺติ ภฺฤศํ ปฺรมตฺตา
น เต ภวํา อษฺฏ อุปาทิยนฺติ
อิทํ ปิ สํเฆ รตนํ ปฺรณีตํ
เอเตน สตฺเยน สุสฺวสฺติ โภตุ
มนุษฺยโต วา อมนุษฺยโต วา
เย ยุกฺตโยคี มนสา สุจฺฉนฺทสา
ไนษฺกฺรมฺยิโณ เคาตมศาสนสฺมิํ
เต ปฺราปฺติปฺราปฺตา อมฺฤตํ วิคาหฺย
วิมุกฺตจิตฺตา นิรฺวฺฤตึ ภุํชมานา
อิทํ ปิ สํเฆ รตนํ ปฺรณีตํ
เอเตน สตฺเยน สุสฺวสฺติ โภตุ
มนุษฺยโต วา อมนุษฺยโต วา
กฺษีณํ ปุราณํ นโว นาสฺติ สํจโย
วิมุกฺตา อายติเก ภวสฺมิํ
เต กฺษีณพีชา อวิรูฒิธรฺมา
นิรฺวานฺติ ธีรา ยถ ไตลทีปา
อิทํ ปิ สํเฆ รตนํ ปฺรณีตํ
เอเตน สตฺเยน สุสฺวสฺติ โภตุ
มนุษฺยโต วา อมนุษฺยโต วา
อคฺนิรฺยถา ปฺรชฺวลิโต นิษีเท
อินฺธนกฺษยา ศามฺยติ เวคชาโต
เอวํวิธํ ธฺยายิโน พุทฺธปุตฺราะ
ปฺรชฺญาย ราคานุศยํ คฺรเหตฺวา
อทรฺศนํ มฺฤตฺยุราชสฺย ยานฺติ
อิทํ ปิ สํเฆ รตนํ ปฺรณีตํ
เอเตน สตฺเยน สุสฺวสฺติ โภตุ
มนุษฺยโต วา อมนุษฺยโต วา
คฺรีษฺมาณมาเส ปฺรถเม ไจตฺรสฺมิํ
วเน ปฺรคุลฺมา ยถ ปุษฺปิตาคฺรา
วาเตริตา เต สุรภิํ ปฺรวานฺติ
เอวํวิธํ ธฺยายิโน พุทฺธปุตฺราะ
ศีเลนุเปตา สุรภิํ ปฺรวานฺติ
อิทํ ปิ สํเฆ รตนํ ปฺรณีตํ
เอเตน สตฺเยน สุสฺวสฺติ โภตุ
มนุษฺยโต วา อมนุษฺยโต วา
ยานีห ภูตานิ สมาคตานิ
ภูมฺยานิ วา ยานิ ว อนฺตรีเกฺษ
ไมตฺรีกโรนฺตุ สท มนุษฺยกา ปฺรชา
ทิวํ จ ราตฺริํ จ หรนฺติ โว พลิํ
ตสฺมาทฺธิ ตํ รกฺษถ อปฺรมตฺตา
มาตา ว ปุตฺรํ อนุกมฺปมานา
เอเตน สตฺเยน สุสฺวสฺติ โภตุ
มนุษฺยโต วา อมนุษฺยโต วา
วิปศฺยิสฺมิํ วิศฺวภุวิกฺรกุจฺฉนฺเท
ภามกนกมุนิสฺมิํ กาศฺยเป
มหายเศ ศากฺยมุนิสฺมิ' เคาตเม
เอเตหิ พุทฺเธหิ มหรฺทฺธิเกหิ
ยา เทวตา สนฺติ อภิปฺรสนฺนา
วาฒํ ปิ ตํ รกฺษยนฺตุ จ กโรนฺตุ
สฺวสฺตฺยยนํ มานุษิกปฺรชาเย
ตสฺมา หิ ตํ รกฺษถ อปฺรมตฺตา
มาตา ว ปุตฺรํ อนุกมฺปมานา
เอเตน สตฺเยน สุสฺวสฺติ โภตุ
มนุษฺยโต วา อมนุษฺยโต วา
โย ธรฺมจกฺรํ อภิภูย โลกํ
ปฺรวรฺตยติ สรฺวภูตนุกมฺปิตํ
เอตาทฺฤศํ เทวมนุษฺยเศฺรษฺฐํ
พุทฺธํ นมสฺยามิ สุสฺวสฺติ โภตุ
ธรฺมํ นมสฺยามิ สุสฺวสฺติ โภตุ
สํฆํ นมสฺยามิ สุสฺวสฺติ โภตุ
มนุษฺยโต วา อมนุษฺยโต วา

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น